เมื่อผลิตได้มากเอาไปไหน??? ถ้าตากโดยใช้เวลาน้อยวันก็จะขาดทุนนำ้หนักน้ำ (ขายโรงงานแล้วขาดทุน) เนื่องด้วยยางเครพมีคุณสมบัติไม่เหมือนกับยางแผ่น ไม่สามารถนำยางเครพเข้าอบ ณ ห้องรมยางแผ่นได้โดยตรง ต้องปรับสภาพห้องให้เหมาะสมกับการทำการอบยางเครพครับ ในบทความนี้ผมได้นำเสนอการปรับปรุงห้องรมยางแผ่นเก่าให้สามารถอบยางเครพได้ครับ จะได้ลดเวลาในการตากยางเครพลงครับ
ทุบพื้นห้องเดิมก่อนเนื่องการวางระบบลมร้อนระบายไม่เหมือนกัน
ฝ้าบนที่ติดตั้งเรียบร้อยแล้วพร้อมระบบเปิด-ปิด หน้าต่างระบายอากาศ
เปรียบเทียบเนื้อยาง: ในภาพนี้เป็นยางเครพที่ตากในที่ร่มลมพัดธรรมชาติ ตากประมาณ 10 วัน
เปอร์เซ็นต์ยาง 85 รวมเปอร์เซ็นต์ความชื้น 9ุ6% สีอ่อนกว่าเล็กน้อย
เปรียบเทียบเนื้อยาง: ในภาพนี้เป็นยางเครพที่ผ่านการอบ ประมาณ 4 วัน
เปอร์เซ็นต์ยาง 88 รวมเปอร์เซ็นต์ความชื้น 96% สีเข้มกว่ายางที่ตากธรรมชาติ
ทุบเคลียร์ทำลายพื้นเก่าออกก่อน
วางระดับท่อระบายลมร้อน
ท่อระบายลมร้อน
วางตำแหน่งท่อระบายลมร้อน
ท่อระบายลมร้อนที่ผูกเหล็กเสร็จ
ติดตั้งลูกหมุนระบายอากาศ
งานติดตั้งลูกหมุน
เปิดกระเบื้องมุงหลังคาเพื่อติดตั้งลูกหมุนระบายอากาศ
ลูกหมุนระบายอากาศที่ติดตั้งเสร็จ
เทพื้นคอนกรีต
ติดตั้งกลไกระบบการเปิดหน้าต่างระบายอากาศ
ฝ้าบนที่ติดตั้งเรียบร้อยแล้วพร้อมระบบเปิด-ปิด หน้าต่างระบายอากาศ
ลองทดลองอบแล้ว
เปอร์เซ็นต์ยาง 85 รวมเปอร์เซ็นต์ความชื้น 9ุ6% สีอ่อนกว่าเล็กน้อย
เปรียบเทียบเนื้อยาง: ในภาพนี้เป็นยางเครพที่ผ่านการอบ ประมาณ 4 วัน
เปอร์เซ็นต์ยาง 88 รวมเปอร์เซ็นต์ความชื้น 96% สีเข้มกว่ายางที่ตากธรรมชาติ
สรุป:
1.เปรียบเทียบสัดส่วนเปอร์เซ็นต์ยางรวมกับความชื้นที่เท่ากัน ยางที่อบน้ำหนัก
จะน้อยกว่าแต่แห้งมากกว่าขายได้ราคาดีกว่าครับ
2.ระยะเวลาการตากสั้นกว่า
3.สามารถผลิตได้มากเมื่อมีผลผลิตมาก
4.ควบคุมการขายได้ดีสามารถเลือกขายได้ ขณะที่ราคายางแพงครับ
สมพงค์
087-692-3836
sompong10000@hotmail.com
รับติดตั้ง วางไลท์ผลิต จัดหาอะไหล่ซ่อมบำรุง สร้างและผลิตเครื่องจักรใหม่มือ 1
087-692-3836
sompong10000@hotmail.com
รับติดตั้ง วางไลท์ผลิต จัดหาอะไหล่ซ่อมบำรุง สร้างและผลิตเครื่องจักรใหม่มือ 1
รับซ่อมจักรรีดเครพเก่ามือ2 ออกแบบและสร้างห้องอบยางเครพ